ตัวอย่างการกำหนดคุณสมบัติ ของสิทธิต่างๆ

ตัวอย่างการกำหนดคุณสมบัติ ของสิทธิต่างๆ

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 12:19 pm

ตัวอย่างที่ 1. กำหนดรหัส 01 เป็นผู้ป่วยจ่ายสด เบิกได้
เงื่อนไขที่ต้องการคือ ผู้ป่วยชำระเงินเองทั้งหมด(รหัสขึ้นต้นด้วย 0 ) แต่ออกใบเสร็จมีการกำหนดราคากลางแยกเบิกได้และเบิกไม่ได้
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
ราคากลาง =YES
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 10:19 pm, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 12:38 pm

ตัวอย่างที่ 2. กำหนดรหัส 020 ตรวจสุขภาพต่างด้าว(ปกส.) ประกันสังคม
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ผู้ป่วยต้องชำระเงินเองทั้งหมด(รหัสขึ้นต้นด้วย 0 )
2.เมื่อกด ปุ่ม F6 ที่หน้าบันทึกการรักษา(ที่กด F5) ให้บันทึกกิจกรรมบริการอัตโนมัติคือ ชุดแลปตรวจสุภาพต่างด้าว (L74300000), ยา Albendazole(070200041),ยา DCC[Diethylcarbamazine citrate] (070200031) ตรงนี้เวลานัดตรวจสุขภาพต่างด้าวเป็นกลุ่มจะสะดวกมากเลยไม่ต้องมาใส่ทีละรายการ เช่นที่สัตหีบบางครั้งวันละ 400-500 คน
3. เมื่อต้องการรายงานจากบันทึกการใช้สิทธิให้ใช้โปรแกรมชื่อ R_LABOUR เป็นแบบรายงานต่างด้าวครับ แต่ตอนนี้ไม่ได้ใช้แล้วไปออกบน mit-utility เป็น excell แทน
4. เมื่อต้องการพิมพ์รายงานเป็นกระดาษให้ใช้โปรแกรมชื่อ P_LABOUR เป็นแบบใบรับรองแพทย์ต่างด้าวครับ เอาไว้พิมพ์เมื่อผลตรวจออกแล้วสรุปให้แพทย์เซนต์ชื่ออย่างเดียว
(โปรแกรม P_LABOUR และ R_LABOUR นี้มีอยู่แล้วใน mit-net ถ้าไม่ตรงความต้องการสามารถนำโปรแกรมที่ให้ D/L ไปแก้ไขเองแล้วเปลี่ยนชื่อเป็นของตนเองนำมาใช้ และกำหนดชื่อโปรแกรมให้ตรงกัน)
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
<F6>=L74300000;070200041;070200031;
แบบพิมพ์ =P_LABOUR
REPORT =R_LABOUR
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ ศุกร์ ก.ย. 03, 2010 9:39 am, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 12:46 pm

ตัวอย่างที่ 3. สิทธิรหัส 202 Contract ศูนย์บริการนาจอมเทียน
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ผู้ป่วยใช้สิทธิของหน่วยงานอื่นซึ่งกำหนดไว้ในหน่วยงานคู่สัญญารหัส D1076 เพื่อ รับบริการเทียบระดับสิทธิ UC
2.ใช้สิทธิได้ภายในวันเดียว
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
บัตรหมดอายุ = 1 DAY
โรงพยาบาลหลัก = D1076
โรงพยาบาลรอง = D1076
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:19 pm, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 12:50 pm

ตัวอย่างที่ 4. สิทธิรหัส 203 ส่งตรวจ LAB จาก PCU
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ผู้ป่วยใช้สิทธิของ PCU ในCUPสัตหีบ(10825) เพื่อตรวจ LAB
2.ใช้สิทธิได้ภายในวันเดียว
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
โรงพยาบาลหลัก = 10825
บัตรเริ่มใช้ = DATE()
บัตรหมดอายุ = DATE()
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:19 pm, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 1:00 pm

ตัวอย่างที่ 5. สิทธิรหัส 330 +30 บาทใน CUP สัตหีบ
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ผู้ป่วยใช้สิทธิของ PCU ในCUPสัตหีบ(10825) เพื่อรับบริการ
2.ใช้การตรวจสิทธิจากแฟ้ม PERSON ในระบบ mit-net ที่ติดตั้งบน SERVER ที่ Dir G:\HOSPITAL\ ซึ่งจะ UPDATE ทุกเดือนจากแฟ้ม VR.txt โดย จนท.ศูนย์ประกัน ของ รพ. ผ่านทางโปรแกรม mitutility แทนการตรวจสิทธิแบบ ONLINE
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
แฟ้มชื่อ=G:\HOSPITAL\PUBLIC\PERSON.DBF
ต้องมี รพ.หลัก = 10825
ต้องมีกลุ่มสิทธิ = UCS
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:19 pm, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 1:02 pm

ตัวอย่างที่ 6. สิทธิรหัส 331 ไม่เก็บเงินใน CUP สัตหีบ
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ผู้ป่วยใช้สิทธิของ PCU ในCUPสัตหีบ(10825) เพื่อรับบริการ
2.ใช้การตรวจสิทธิจากแฟ้ม PERSON ในระบบ mit-net ที่ติดตั้งบน SERVER ที่ Dir G:\HOSPITAL\ ซึ่งจะ UPDATE ทุกเดือนจากแฟ้ม VR.txt โดย จนท.ศูนย์ประกัน ของ รพ. ผ่านทางโปรแกรม mitutility แทนการตรวจสิทธิแบบ ONLINE
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
แฟ้มชื่อ=G:\HOSPITAL\PUBLIC\PERSON.DBF
ต้องมี รพ.หลัก = 10825
ต้องมีกลุ่มสิทธิ = WEL
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:20 pm, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 1:09 pm

ตัวอย่างที่ 7. สิทธิรหัส 3309 บัตร UC ชั่วคราว CUP สัตหีบ
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ออกให้ผู้ป่วยเพื่อใช้สิทธิของ PCU ในCUPสัตหีบ(10825) เพื่อรับบริการ ระหว่างรอการขอขึ้นทะเบียน ปกติได้รับการตอบกลับรับลงทะเบียน ไม่เกิน 30 วัน โดย ตอบกลับเป็นแฟ้ม RTR สามารถนำมา UPDATE ข้อมูลในแฟ้ม PERSON.DBF โดย จนท.ศูนย์ประกัน ของ รพ. ผ่านทางโปรแกรม mitutility
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
บัตรหมดอายุ = 30 DAYS
โรงพยาบาลหลัก = 10825
เลขที่ = ใบนัด
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:20 pm, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 1:49 pm

ตัวอย่างที่ 7. สิทธิรหัส 5555 สิทธิเบิกกรมบัญชีกลาง(ผู้ป่วยนอก)
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ออกให้ผู้ป่วยที่ลงทะเบียนเก็บรายนิ้วมือด้วยโปรแกรม CSCDเพื่อรับบริการเฉพาะเป็นผู้ป่วยนอก ปกติได้รับการตอบกลับรับลงทะเบียน ไม่เกิน 30 วัน และข้อมูลได้รับการ UPDATE ทุกเดือน โดย ตอบกลับเป็นแฟ้ม .txt สามารถนำมา UPDATE ข้อมูลในระบบ mit-net ที่แฟ้ม PTNO.dbf โดย จนท.ศูนย์ประกัน ของ รพ. ผ่านทางโปรแกรม mitutility ดังนั้นข้อมูลสิทธินี้จึงไม่ควรแก้ไขได้โดย จนท.โดยตรง
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
ห้ามแก้ไข = YES
ราคากลาง =YES
ประเภทผู้ป่วย = OPD
อักษรนำรหัสหน่วยงาน =G
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:21 pm, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 1:54 pm

ตัวอย่างที่ 8. สิทธิรหัส 59 สิทธิเบิกกรมบัญชีกลาง(ผู้ป่วยใน)
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ออกให้ผู้ป่วยในเบิกได้ เพื่อเรียกเก็บเงินด้วยโปรแกรม CSMBS
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
ต้นสังกัด
ราคากลาง =YES
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:21 pm, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:00 pm

ตัวอย่างที่ 9. สิทธิรหัส 9012 ตรวจสุขภาพ( Contract )
เงื่อนไขที่ต้องการคือ 1.ผู้ป่วยใช้สิทธิของหน่วยงานอื่นตามวงเงินซึ่งกำหนดไว้ในหน่วยงานคู่สัญญา เพื่อ รับบริการไม่จำกัดประเภทของยาและบริการ(รหัสขึ้นต้นด้วย 9 )
2.เนื่องจากเป็นการตรวจสุขภาพประจำปีจึงให้สิทธินี้วันเดียว
จึงบันทึกในคุณสมบัติสิทธิคือ
คู่สัญญา
วันที่เริ่ม = DATE()
วันที่หมดอายุ = DATE()
แก้ไขล่าสุดโดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:22 pm, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย mit เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ย. 02, 2010 2:12 pm

หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อหลายคนที่ยังไม่ได้นำมาใช้งาน เช่นการค้นหาสิทธิ จากแฟ้มอื่นนั้นสามารถกำหนด PATH ให้ค้นหาจากที่ไหนก็ได้ตามต้องการ เพียงแต่ G:\HOSPITAL\PUBLIC\PERSON.DBF นั้นมีอยู่แล้วในระบบ MIT-NET ตย. สร้างแฟ้มประกันสังคมขึ้นมาเป็น G:\CHONBURI.DBF ทำดัชนีซะจะได้ค้นเร็ว แล้วกำหนดในคุณสมบัติสิทธิให้ค้นด้วยข้อมูลใน mit-net ที่สัมพันธ์กับดัชนี ข้อมูลต่างๆ บนแฟ้มนี้จะถูกนำไปใช้ตรวจสอบหรือออกบัตรใหม่ได้เลย
ยังมี TAG หรือ KEYWORDS ให้ใช้อีกจำนวนหนึ่ง บาง TAG ไม่ควรนำมาแสดงในที่สาธารณะ เช่นการกำหนดส่วนลด ดังนั้น ในหน้ากำหนดคุณสมบัติสิทธิ กด F1 หรือ CTRL+INS แล้วยังไม่เข้าใจก็ปรึกษาได้ครับ
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

...

โพสต์โดย sutthipongr เมื่อ ศุกร์ ก.ย. 03, 2010 4:19 pm

ถ้าจะกำหนดถึงสิทธิ์ย่อยของ สปสช . เช่น 89,72,74
ไม่ทราบว่าจะกำหนดได้หรือไม่ครับ
***เราพิสูจน์ได้ด้วย ผลงานของเรา***

พอเพียง และ เพียงพอ ตามรอยพ่อของแผ่นดิน
sutthipongr
 
โพสต์: 788
ลงทะเบียนเมื่อ: พุธ ต.ค. 29, 2008 5:07 pm
ที่อยู่: โรงพยาบาลบางแก้ว จ.พัทลุง

โพสต์โดย mit เมื่อ เสาร์ ก.ย. 04, 2010 7:49 pm

ได้ครับ สามารถกำหนดได้โดยใช้ key words ดังนี้
'ต้องมีกลุ่มสิทธิ = ' key นี้จะตรวจกับฟิลด์ TYPECARD ของ person.dbf จะพบว่าข้อมูลที่อยู่ในฟิลด์นี้ เช่น UCS ,WEL,OFC,SSS เป็นต้น
'ต้องมีสิทธิหลัก = ' key นี้จะตรวจกับฟิลด์ RIGHT ของ person.dbf จะพบว่าข้อมูลที่อยู่ในฟิลด์นี้ เช่น AA , AH, AG, AH, UC เป็นต้น
'ต้องมีสิทธิรอง = ' key นี้จะตรวจกับฟิลด์ CARD ของ person.dbf จะพบว่าข้อมูลที่อยู่ในฟิลด์นี้ เช่น 71 , 77, 89, 93 เป็นต้น

ทำได้ตามต้องการ แต่ไม่ควรกำหนดละเอียดเกินจำเป็นครับ ในโปรแกรมไม่มีผลกระทบเพราะทำในขั้นตอนเดียวอยู่แล้วแต่ คนเองอาจสับสนได้ครับ
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm

โพสต์โดย wut123 เมื่อ ศุกร์ ก.ย. 17, 2010 3:31 pm

ถ้าแก้ไขให้เหมือนที่คุณหมอบอก แล้วข้อมูลเดิมจะเพี้ยน หรือ เสียหายไหมครับ
wut123
 
โพสต์: 18
ลงทะเบียนเมื่อ: พุธ ต.ค. 29, 2008 10:10 am
ที่อยู่: รพ.ควนกาหลง จ.สตูล

โพสต์โดย mit เมื่อ เสาร์ ก.ย. 18, 2010 10:14 am

แกไขการกำหนดคุณสมบัติได้ แต่อย่าไปเปลี่ยนรหัสสิทธิเข้าล่ะ
เช่นถ้าใช้รหัส 6999 เป็นเบิกกรมบัญชีกลางผู้ป่วยใน หัวข้อและรหัสไม่ต้องแก้ไขแต่ภายในการกำหนดคุณสมบัติใส่
ต้นสังกัด
ราคากลาง=YES

สิทธิอื่นๆก็เช่นกันครับ ที่ทำให้เป็นตัวอย่างเอามาจากที่ใช้อยู่จริงๆ เพื่อเป็นแนวทางครับ
หมออยากให้ ทำตามคือขั้นตอนวิธีการ ไม่เน้นเนื้อหาข้อมูล
เช่นจะกำหนดสิทธิขึ้นมา ต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง
1.จะใช้กับใครและครอบคลุมบริการประเภทใด ตรงนี้จะรู้ว่าต้องขึ้นต้นรหัสด้วยอะไร เพราะรหัสสิทธิจะมีผลต่อการนำไปใช้ไม่สามารถกำหนดตามใจได้ เช่นถ้าเป็นสิทธิ UC แต่ไปกำหนดรหัสเป็น 5432(ขึ้นต้นด้วย5) สิทธินี้จะสามารถใช้กับยาที่เบิกได้ฟรีไม่ได้ จึงไม่ถูกต้อง บาง รพ. กำหนดยาฟรีได้ทั้งหมด ก็ทำได้แต่จะไม่สามารถใช้ประโยชน์จากโปรแกรมเลยเวลาเก็บเงินก็กลับไปใช้คนคิดเองว่าจะเก็บเท่าไรยุ่งยากและตรวจสอบไม่ได้เหมือนตอนไม่มีคอมฯเลย
2.มีเงื่อนไขในการใช้สิทธิเพิ่มเติมอีกหรือไม่ ตรงนี้แหล่ะที่นำมาใส่ใน กำหนดคุณสมบัติ จากตัวอย่างกำหนดให้ใช้ราคากลาง (ราคากลาง=YES)ตรงนี้จะมีประโยชน์ตอนออกใบเสร็จด้วยนะครับเช่น กรณีทำครอบฟันเรากำหนดในกิจกรรมว่าเบิกได้ ราคาต่อหน่วย 4000 และกำหนดราคากลาง 2500 ถ้าผู้ป่วยใช้สิทธิเบิกตรงกรมบัญชีกลางผู้ป่วยนอก(ขึ้นต้นด้วย 5-8)ก็จะใช้สิทธได้ 2500 จ่ายเอง 1500 ตามที่กำหนด รพ.จะเก็บเงินและออกใบเสร็จให้ 1500และเบิกไม่ได้ แต่กรณีที่ใช้สิทธิจ่ายสดเบิกได้(ขึ้นต้นด้วย0) จริงๆผู้ป่วยไม่ได้ใช้สิทธินะน่าจะเรียกว่าประเภทการชำระค่าบริการมากกว่าเรียกสิทธิกันจนงง ผู้ป่วยจะต้องจ่ายเงินสด 4000 รพ.จะออกใบเสร็จให้ 4000 เป็นช่องเบิกได้ 2500 และช่องเบิกไม่ได้ 1500 ถ้าไม่กำหนดราคากลางจะไม่เป็นแบบนี้จะออกเป็นเบิกได้ 4000 อันนี้ไม่ถูกต้องเดี๋ยวกรมฯฟ้องเรียกคืนนะครับ
จะเห็นว่าการกำหนดคุณสมบัติมีประโยชน์นะไม่ได้ทำลอยๆ TAGแต่ละตัวผ่านการคิดมาพอสมควร ลองศึกษาและนำไปใช้ดูนะครับจะรู้ว่าเราทำอะไรได้อีกมากเลย
mit
 
โพสต์: 314
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ ต.ค. 27, 2008 11:47 pm


ย้อนกลับไปยัง ถาม-ตอบ ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับโปรแกรม MIT-NET

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิกใหม่ และ บุคคลทั่วไป 53 ท่าน

cron